จำนวนบทความของคำ "เฟนิโทอิน" : 15 เฟนิโทอิน เป็น ยาและสารเคมี |
Click เพื่อดูภาพขนาดใหญ่ |
![]() | คำอธิบายเกี่ยวกับยา (3) |
![]() | Word Info ID : 2302 Word INFO : เฟนิโทอิน หรือมีชื่อเรียกอีกชื่อหนึ่งว่า ไดเฟนิลไฮแดนโทอิน (Diphenylhydantoin) เป็นยาที่มีสูตรโครงสร้างคล้ายยาในกลุ่มบาร์บิทูเรต ใช้ควบคุมอาการชักจากโรคลมชัก (70) และอาการชักที่เกิดขึ้นหลังผ่าตัดสมอง Ref. Link : http://www.doctordiag.com/Medical/disease.aspx |
![]() | Word Info ID : 4007 Word INFO : เฟนิโทอิน - Phenytoine รายละเอียดเพิ่มเติม เฟนิโทอิน หรือมีชื่อเรียกอีกชื่อหนึ่งว่า ไดเฟนิลไฮแดนโทอิน (Diphenylhydantoin) เป็นยาที่มีสูตรโครงสร้าง คล้ายยาในกลุ่มบาร์บิทูเรตใช้ควบคุมอาการชักจากโรคลมชัก และอาการชักที่เกิดขึ้นหลังผ่าตัดสมอง Ref. Link : http://www.thailabonline.com/drug/drug2.htm |
![]() | Word Info ID : 4023 Word INFO : เฟนิโทอิน (phenytoin) เป็นยาต้านการชัก ที่ใช้ได้ผลสำหรับการชักแบบ partial (focal) และ generalized (genertic) epilepsy ทั้ง grandmal และ pertitmal Ref. Link : http://filing.fda.moph.go.th/library/E-learning/DCD/%E0%B8%81%E0%B8... |
![]() | ลักษณะของยา (2) |
![]() | Word Info ID : 2305 Word INFO : ชนิดแคปซูล 100 มก., ชนิดเม็ด 50 มก. Ref. Link : http://www.doctordiag.com/Medical/disease.aspx |
![]() | Word Info ID : 4025 Word INFO : สำหรับรูปแบบที่มีจำหน่ายในประเทศไทย ได้แก่ - รูปแบบยาเม็ด (tablet) ซึ่งมีแบบตอกเม็ด (compressed) และ แบบเคลือบน้ำตาล (sugar coated) - รูปแบบยาแคปซูล (capsule) ซึ่งมีทั้งแบบออกฤทธิ์เร็ว (prompt released) และแบบออกฤทธิ์นาน (extended released) - รูปแบบยาฉีด (sterile solution) - รูปแบบยาน้ำแขวนตะกอน (suspension) Ref. Link : http://filing.fda.moph.go.th/library/E-learning/DCD/%E0%B8%81%E0%B8... |
![]() | ตัวอย่างชื่อการค้า (1) |
![]() | Word Info ID : 2306 Word INFO : มีชื่อทางการค้า เช่น ไดแลนทิน (DilanTIN), เดนิล (Denyl), ไดโทอิน (Ditoin), ไดโทเมด (Ditomed) เป็นต้น Ref. Link : http://www.doctordiag.com/Medical/disease.aspx |
![]() | ขนาดและวิธีใช้ (2) |
![]() | Word Info ID : 2308 Word INFO : ผู้ใหญ่ เริ่มด้วย 1 แคปซูล (100 มก.) วันละ 3 ครั้ง แล้วปรับขนาดให้สามารถควบคุมอาการชักได้ โดยทั่วไปมักจะใช้ขนาด 1 แคปซูล วันละ 3-4 ครั้ง ถ้าจำเป็นอาจเพิ่มถึง 2 แคปซูล วันละ 3 ครั้ง (ในกรณีที่ใช้ขนาดเท่ากับ หรือน้อยกว่า 3 แคปซูลต่อวัน อาจให้กินเพียงวันละครั้ง เพื่อความสะดวก) เด็ก เริ่มให้ขนาดวันละ 5 มก.ต่อน้ำหนักตัว 1 กิโลกรัม แบ่งให้วันละ 2-3 ครั้ง (สูงสุด 300 มก.ต่อวัน) แล้วปรับขนาดให้สามารถควบคุมอาการชักได้ โดยทั่วไปมักจะใช้ขนาดวันละ 4-8 มก.ต่อน้ำหนักตัว 1 กิโลกรัม Ref. Link : http://www.doctordiag.com/Medical/disease.aspx |
![]() | Word Info ID : 4010 Word INFO : ขนาดและวิธีใช้ ผู้ใหญ่ เริ่มด้วย 1 แคปซูล (100 มก.) วันละ 3 ครั้ง แล้วปรับขนาดให้สามารถควบคุมอาการชักได้ โดยทั่วไปมักจะ ใช้ขนาด 1 แคปซูล วันละ 3-4 ครั้ง ถ้าจำเป็นอาจเพิ่มถึง 2 แคปซูล วันละ 3 ครั้ง (ในกรณีที่ใช้ขนาดเท่ากับ หรือ น้อยกว่า 3 แคปซูลต่อวัน อาจให้กินเพียงวันละครั้ง เพื่อความสะดวก) เด็ก เริ่มให้ขนาดวันละ 5 มก.ต่อน้ำหนักตัว 1 กิโลกรัม แบ่งให้วันละ 2-3 ครั้ง (สูงสุด 300 มก.ต่อวัน) แล้วปรับขนาดให้สามารถควบคุมอาการชักได้ โดย ทั่วไปมักจะใช้ขนาดวันละ 4-8 มก.ต่อน้ำหนักตัว 1 กิโลกรัม Ref. Link : http://www.thailabonline.com/drug/drug2.htm |
![]() | ผลข้างเคียง (3) |
![]() | Word Info ID : 2310 Word INFO : ปวดศีรษะ เวียนศีรษะ คลื่นไส้อาเจียน ท้องผูก เดินเซ ตากระตุก เหงือกบวม แพ้ยา Ref. Link : http://www.doctordiag.com/Medical/disease.aspx |
![]() | Word Info ID : 4003 Word INFO : ผลข้างเคียงต่อทารกในครรภ์ซึ่งไม่ควรใช้ในหญิงที่ตั้งครรภ์ เฟนิโทอิน เช่น ไดแลนทิน (DilanTIN) อาจทำให้ทารกเลือดออกง่าย Ref. Link : http://www.thailabonline.com/drug/drug.htm |
![]() | Word Info ID : 4012 Word INFO : ผลข้างเคียง ปวดศีรษะ เวียนศีรษะ คลื่นไส้อาเจียน ท้องผูก เดินเซ ตากระตุก เหงือกบวม แพ้ยา Ref. Link : http://www.thailabonline.com/drug/drug2.htm |
![]() | ข้อควรระวัง (2) |
![]() | Word Info ID : 2312 Word INFO : 1. ยานี้อาจมีผลข้างเคียง เช่น ปวดศีรษะ เวียนศีรษะ นอนไม่หลับ เดินเซ ตากระตุก ตาเห็นภาพซ้อน คลื่นไส้ อาเจียน ท้องผูก ริมฝีปากบวม เหงือกบวม มีขนอ่อนขึ้น ต่อมน้ำเหลืองโต 2. บางคนอาจแพ้มีผื่นขึ้น มีไข้ ถ้าเป็นรุนแรง อาจทำให้ผิวหนังพุพอง และหนังลอก หรือเป็นกลุ่มอาการสตีเวนส์จอห์นสันได้ 3. ในรายที่ใช้ติดต่อกันนาน ๆ อาจมีอาการปลายประสาทอักเสบ ภาวะโลหิตจางจากการขาดสารโฟเลตได้ 4. ในการลดขนาดยา ควรค่อย ๆ ลดลงทีละน้อย ห้ามหยุดยาทันที อาจทำให้ชักได้ 5. ควรระมัดระวังในการใช้ยาในผู้ที่เป็นโรคตับ 6. ห้ามใช้ในผู้ที่มีประวัติแพ้ยานี้ 7. ไม่ควรใช้ร่วมกับยากันชักอื่น ๆ (เช่น ฟีโนบาร์บิทาล, โซเดียม วาลโพรเอต) อาจทำให้เปลี่ยนแปลงการออกฤทธิ์ของยาได้ Ref. Link : http://www.doctordiag.com/Medical/disease.aspx |
![]() | Word Info ID : 4014 Word INFO : ข้อควรระวัง 1. ยานี้อาจมีผลข้างเคียง เช่น ปวดศีรษะ เวียนศีรษะ นอนไม่หลับ เดินเซ ตากระตุก ตาเห็นภาพซ้อน คลื่นไส้ อาเจียน ท้องผูก ริมฝีปากบวม เหงือกบวม มีขนอ่อนขึ้น ต่อมน้ำเหลืองโต 2. บางคนอาจแพ้มีผื่นขึ้น มีไข้ ถ้าเป็นรุนแรง อาจทำให้ผิวหนังพุพอง และหนังลอก หรือเป็นกลุ่มอาการ สตีเวนส์จอห์นสันได้ 3. ในรายที่ใช้ติดต่อกันนาน ๆ อาจมีอาการปลายประสาทอักเสบ ภาวะโลหิตจางจากการขาดสารโฟเลตได้ 4. ในการลดขนาดยา ควรค่อย ๆ ลดลงทีละน้อย ห้ามหยุดยาทันที อาจทำให้ชักได้ 5. ควรระมัดระวังในการใช้ยาในผู้ที่เป็นโรคตับ 6. ห้ามใช้ในผู้ที่มีประวัติแพ้ยานี้ 7. ไม่ควรใช้ร่วมกับยากันชักอื่น ๆ (เช่น ฟีโนบาร์บิทาล, โซเดียม วาลโพรเอต) อาจทำให้เปลี่ยนแปลงการออกฤทธิ์ ของยาได้ Ref. Link : http://www.thailabonline.com/drug/drug2.htm |
![]() | ข้อห้ามใช้ (2) |
![]() | Word Info ID : 2314 Word INFO : คนที่แพ้ยานี้, หญิงตั้งครรภ์ Ref. Link : http://www.doctordiag.com/Medical/disease.aspx |
![]() | Word Info ID : 4016 Word INFO : ข้อห้ามใช้ คนที่แพ้ยานี้, หญิงตั้งครรภ์ Ref. Link : http://www.thailabonline.com/drug/drug2.htm |